วันศุกร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน 15

บันทึกอนุทิน 15
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 22 เมษายน  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.





ความรู้ที่ได้รับ

แผน IEP

-การเขียนแผน IEP
-ส่วนประกอบของแผน IEP
-ประโยชน์ต่อเด็ก
-ประโยชน์ต่อครู
-ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
-ขั้นตอนการจัดแผนการศึกษารายบุคล
      1 การรวบรวมข้อมูล
      2 การจัดทำแผน
          -การกำหนดจุดมุ่งหมาย
          -จุดมุ่งหมายระยะยาว
          -จุดมุ่งหมายระยะสั้น
      3 การใช้แผน
      4 การประเมิน                                                                                            
-การจัดทำ IEP









การนำไปใช้ 

    1  สามารถนำความรู้ไปเขียนแผน IEP เพื่อนำไปปรับพฤติกรรมเด็กพิเศษได้
    2  สามารถนำความรู้ไปฝึกฝนและพัฒนาการเขียนแผน  IEP  ของตนเองใหห้มีความถูกต้องและเหมาะสม




ประเมินตนเอง   วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา และแต่งตัวถูกระเบียบเรียบร้อย และตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายอย่างตังใจ

ประเมินเพื่อน  เพื่อนส่วนมากมาเรียนสาย และแต่งตัวเรียบร้อย  และก็ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายอย่างตั้งใจด้วยค่ะ

ประเมินอาจารย์   อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งตัวเรียบร้อย อาจารย์มีแบบทดสอบมาให้นักศึกษาทำก่อนเรียนเพื่อนกระตุ้นนักศึกษาด้วยค่ะ  



บันทึกอนุทิน 14

บันทึกอนุทิน 14
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 15 เมษายน  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.


หมายเหตุ  วันนี้เป็นวันสงกรานต์ค่ะ 

บันทึกคั้งที่ 13

บันทึกอนุทิน 13
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 8 เมษายน  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.




ความรู้ที่ได้รับ


วันนี้ก่อนที่จะเข้าสู่การเรียนรู้อาจารย์ได้พาฝึกร้องเพลงก่อน

1 เพลงนกกระจิบ
2 เพลงเที่ยวท้องนา
3 เพลงแม่ไก่ออกไข่
4 เพลงลูกแมวสิบตัว
5 เพลงลุงมาชาวนา

เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางการศึกษา

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
1 ทักษะทางสังคม
2 ทักษะทางด้านภาษา
3 ทักษะทางด้านการช้วยเหลือตัวเอง
4 ทักษะพื้นฐานทางการเรียน


ช่วงความสนใจ
1 ต้องมีก่อนการเรียนรู้อื่นๆ
2 จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร


เป้าหมาย
1 การช่วยให้เด้กแต่ละคนเรียนรู้ได
2 มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
3 เด็กรู้สึกว่าฉันทำได้ (ซึ่งสำคัญมาก เพราะำให้เด็กรู้สึกภูมิใจตนเอง)
4 พัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น
5 อยากสำรวจ อยากทดลอง


การเลือกนิทานให้เหมาะสมกับเด็กเรียนรวม
1 เลือกนิทานที่เด็กสนใจ
2 ให้เด็กมีส่วร่วม
3 ไม่ควรใช้เวลานาน


ช่วงระยะเวลาที่เด็กสนใจ
เด็กปกติประมาณ 10 นาที
เด็กพิเศษประมาณ 5 นาที
เด็กสมาธิสั้นปรมาณ 1 นาที


การเลียนแบบ การทำตามคำสั่ง คำแนะนำ
1 เด็กได้ยินที่ครูพูดชัดหรือไม่
2 เด็กเข้าใจคำศัพพ์ที่ครูใช้หรือไม่
3 คำสั่งยุ่งยากซับซ้อนไปหรือไม่


การรับรู้ การเคลื่อนไหว
ได้ยิน เห็น สัมผัส ลิ่มรส กลิ่น ตอบสนองอย่างเหมาะสม


การควบคุมกล้ามเนื้อของเด็กเล็ก
1 การกรองน้ำตวงน้ำ
2 การต่อบล็อค
3 ศิลปะ
4 มุมบ้าน


ทดสอบความจำของเด็กพิเศษ
1 จากการสนทนา
2 เมื่อเช้าหนูทานอะไรมา
3 แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง


ทักษะคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
1 จัดกลุ่มเด็ก
2 เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้เวลาสั้นๆ
3 ให้งานเด็กแต่ะคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
4 ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
5 ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
6 บันทึกว่าเด็กชอบอะไรมากที่สุด
7 รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
8 มีอุปกรณ์ไว้ซับเลี่ยนใกล้มือ
9 เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
10 พูดในทางที่ดี (สำคัญที่สุด)
11 จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
12 ทำบทเรียนให้สนุก





   

วันพุธที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน 12
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 1 เมษายน  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.




วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากแข่งกีฬาสี



บันทึกอนุทิน 11
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 25  มีนาคม  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.



วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากวันนี้อาจารนรสอบเก็บคะแนน






บันทึกอนุทิน 10
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 18  มีนาคม  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.





การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะการช่วยเหลือตนเอง

- เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
- การกินอยู่
- การเข้าห้องน้ำ 
- การแต่งตัว 
- กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน

การสร้างความอิสระ
- เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
- อยากทำงานตามความสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่า และผู้ใหญ่

ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ                                           
การได้ทำด้วยตนเอง
เชื่อมั่นในตนเอง
เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี

หัดให้เด็กทำเอง
ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
- ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
- ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ 
- “ หนูทำช้า ”  “ หนูยังทำไม่ได้ ” 

ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง
แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
- เรียงลำดับตามขั้นตอน

การเข้าส้วม
เข้าไปในห้องส้วม
- ดึงกางเกงลงมา
- ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
- ปัสสาวะหรืออุจจาระ
- ใช้กระดาษชำระเช็ดก้น
- ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
กดชักโครกหรือตักน้ำราด
- ดึงกางเกงขึ้น
- ล้างมือ
- เช็ดมือ
- เดินออกจากห้องส้วม

กิจกรรมท้ายคาบ
                     วันนี้อาอาจารรย์แจกกระดาษคนละหนึ่งแผ่นและให้เลือกสีตามที่ชอบ แล้วก็ให้ระบายสีให้เป็นวงกลมระบายเล็กหรือใหญ่ก้ได้ตามจินตนาการ พอเสร็จแล้วอาจารย์ก็อธิบายว่าการระบายสีของแต่ละคนบงบอกนิสัยอย่างไร จากนั้นก็ให้นำไปติดหน้าห้องให้เป็นต้นไม้



ประเมินตนเอง  วันนี้เข้าห้องตรงเวลา แต่งตัวเข้าห้องเรียนเรียบร้อยตังใจฟังอาจารย์อธิบาย และให้ความร่วมมื่อในการทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน  เพื่อนแต่งตัวเรียบร้อย แต่บางกลุ่มยังมีเสียงคุยกันอยู่ แต่เพื่อนๆก็ยังตั้งใจเรียนค่ะ

ประเมินอาจารย์  อาจารย์น่ารัก แต่งตัวเรียบร้อย และอาจารย์ก็สอนให้นักศึกษาเข้าใจได้ง่ายด้วยต่ะ


บันทึกอนุทิน 9
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่  12 มีนาคม  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.





การส่งเสริมทักษะจ่างๆของเด็กพิเศษ

             ทักษะทางภาษา

การวัดความสามารถทางภาษา
เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม

ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม
ถามหาสิ่งต่างๆไหม
บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม

การออกเสียงผิด พูดไม่ชัด
การพูดตกหล่น
การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
ติดอ่าง

การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
ห้ามบอกเด็กว่า  “พูดช้าๆ” “ตามสบาย”  “คิดก่อนพูด”
อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
เด็กที่พูดไม่ชัดอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยิน

ทักษะพื้นฐานทางภาษา
ทักษะการรับรู้ภาษา
การแสดงออกทางภาษา
การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด

ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
การรับรู้ภาษามาก่อนการแสดงออกทางภาษา
ภาษาที่ไม่ใช่คำพูดมาก่อนภาษาพูด
ให้เวลาเด็กได้พูด
คอยให้เด็กตอบ 
เป็นผู้ฟังที่ดีและโตต้อบอย่างฉับไว 
เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังเพียงอย่างเดียว

กิจกรรมดนตรีบำบัด

   อาจร์ยให้จับคู่กับเพื่อน 1 คน และอาจาร์ยก็ให้เลือกสีคนละ 1 สี จากนั้นกำหนดให้ใช้สีลากเส้นเป็นเส้นยาวเท่านั้น แล้วอาจร์ยก็เปิดเพลงและให้แต่ละคู่ลากได้ตามจินตนาการ พอเพลงจบอาจร์ยให้ละบายสีลงช่องที่เป็นช่องปิด ตามเส้นที่เราวาด


ประโยชน์ที่ได้รับ

1 สมาธิ

2 ฝึกความอดทน

3 มีความคิดสร้างสรรค์

4 ได้ผ่อนคลาย





ประเมินตนเอง  วันนี้เข้าห้องตรงเวลา แต่งตัวเข้าห้องเรียนเรียบร้อยตังใจฟังอาจารย์อธิบาย และให้ความร่วมมื่อในการทำกิจกรรม
ประเมินเพื่อน  วันนี้เรียนรวมกลับเพื่อนที่เรียนภาคค่ำ  แต่ก็สนุกสนานดีและเพื่อนๆก็ตั้งใจฟังอาจารย์สอน
ประเมินอาจารย์  อาจารย์น่ารัก แต่งตัวเรียบร้อย และอาจารย์ก็สอนให้นักศึกษาเข้าใจได้ง่ายด้วยต่ะ