วันศุกร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน 15

บันทึกอนุทิน 15
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 22 เมษายน  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.





ความรู้ที่ได้รับ

แผน IEP

-การเขียนแผน IEP
-ส่วนประกอบของแผน IEP
-ประโยชน์ต่อเด็ก
-ประโยชน์ต่อครู
-ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
-ขั้นตอนการจัดแผนการศึกษารายบุคล
      1 การรวบรวมข้อมูล
      2 การจัดทำแผน
          -การกำหนดจุดมุ่งหมาย
          -จุดมุ่งหมายระยะยาว
          -จุดมุ่งหมายระยะสั้น
      3 การใช้แผน
      4 การประเมิน                                                                                            
-การจัดทำ IEP









การนำไปใช้ 

    1  สามารถนำความรู้ไปเขียนแผน IEP เพื่อนำไปปรับพฤติกรรมเด็กพิเศษได้
    2  สามารถนำความรู้ไปฝึกฝนและพัฒนาการเขียนแผน  IEP  ของตนเองใหห้มีความถูกต้องและเหมาะสม




ประเมินตนเอง   วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา และแต่งตัวถูกระเบียบเรียบร้อย และตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายอย่างตังใจ

ประเมินเพื่อน  เพื่อนส่วนมากมาเรียนสาย และแต่งตัวเรียบร้อย  และก็ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายอย่างตั้งใจด้วยค่ะ

ประเมินอาจารย์   อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งตัวเรียบร้อย อาจารย์มีแบบทดสอบมาให้นักศึกษาทำก่อนเรียนเพื่อนกระตุ้นนักศึกษาด้วยค่ะ  



บันทึกอนุทิน 14

บันทึกอนุทิน 14
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 15 เมษายน  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.


หมายเหตุ  วันนี้เป็นวันสงกรานต์ค่ะ 

บันทึกคั้งที่ 13

บันทึกอนุทิน 13
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤน แจ่มถิ่น
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพุธที่ 8 เมษายน  2558
   เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.




ความรู้ที่ได้รับ


วันนี้ก่อนที่จะเข้าสู่การเรียนรู้อาจารย์ได้พาฝึกร้องเพลงก่อน

1 เพลงนกกระจิบ
2 เพลงเที่ยวท้องนา
3 เพลงแม่ไก่ออกไข่
4 เพลงลูกแมวสิบตัว
5 เพลงลุงมาชาวนา

เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางการศึกษา

การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
1 ทักษะทางสังคม
2 ทักษะทางด้านภาษา
3 ทักษะทางด้านการช้วยเหลือตัวเอง
4 ทักษะพื้นฐานทางการเรียน


ช่วงความสนใจ
1 ต้องมีก่อนการเรียนรู้อื่นๆ
2 จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร


เป้าหมาย
1 การช่วยให้เด้กแต่ละคนเรียนรู้ได
2 มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
3 เด็กรู้สึกว่าฉันทำได้ (ซึ่งสำคัญมาก เพราะำให้เด็กรู้สึกภูมิใจตนเอง)
4 พัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น
5 อยากสำรวจ อยากทดลอง


การเลือกนิทานให้เหมาะสมกับเด็กเรียนรวม
1 เลือกนิทานที่เด็กสนใจ
2 ให้เด็กมีส่วร่วม
3 ไม่ควรใช้เวลานาน


ช่วงระยะเวลาที่เด็กสนใจ
เด็กปกติประมาณ 10 นาที
เด็กพิเศษประมาณ 5 นาที
เด็กสมาธิสั้นปรมาณ 1 นาที


การเลียนแบบ การทำตามคำสั่ง คำแนะนำ
1 เด็กได้ยินที่ครูพูดชัดหรือไม่
2 เด็กเข้าใจคำศัพพ์ที่ครูใช้หรือไม่
3 คำสั่งยุ่งยากซับซ้อนไปหรือไม่


การรับรู้ การเคลื่อนไหว
ได้ยิน เห็น สัมผัส ลิ่มรส กลิ่น ตอบสนองอย่างเหมาะสม


การควบคุมกล้ามเนื้อของเด็กเล็ก
1 การกรองน้ำตวงน้ำ
2 การต่อบล็อค
3 ศิลปะ
4 มุมบ้าน


ทดสอบความจำของเด็กพิเศษ
1 จากการสนทนา
2 เมื่อเช้าหนูทานอะไรมา
3 แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง


ทักษะคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
1 จัดกลุ่มเด็ก
2 เริ่มต้นเรียนรู้โดยใช้เวลาสั้นๆ
3 ให้งานเด็กแต่ะคนอย่างชัดเจนว่าต้องทำที่ไหน
4 ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
5 ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
6 บันทึกว่าเด็กชอบอะไรมากที่สุด
7 รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
8 มีอุปกรณ์ไว้ซับเลี่ยนใกล้มือ
9 เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
10 พูดในทางที่ดี (สำคัญที่สุด)
11 จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
12 ทำบทเรียนให้สนุก